การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) พ.ศ. 2567

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) พ.ศ. 2567

มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกาศเจตนารมณ์

“สุจริต โปร่งใส มหาวิทยาลัยนเรศวรใสสะอาด” นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)"

    เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์ที่เข้มแข็งในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ ขอเชิญชวนผู้บริหาร และบุคลากรทุกระดับ งดการรับและให้ของขวัญหรือผลประโยชน์อื่นใดในช่วงเทศกาลและในทุกโอกาส เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลที่ดี

เจตนารมณ์นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)

ข้อมูลพื้นฐาน

แผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

ตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข้อมูลของผู้บริหารสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งทางการบริหารของหน่วยงาน 
(1) ผู้บริหารสูงสุด
​(2) รองผู้บริหารสูงสุด​

– ข้อมูลของผู้บริหารแต่ละคน ประกอบด้วย​
(1) ชื่อ-นามสกุล
(2) ตำแหน่ง
(3) รูปถ่าย
(4) ช่องทางการติดต่อ​

ดูรายละเอียด >>
——————–
 

– อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน 

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

ข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน ประกอบด้วย
(1) ที่อยู่หน่วยงาน
(2) หมายเลขโทรศัพท์
(3) E-mail ของหน่วยงาน
(4) แผนที่ตั้ง

ดูรายละเอียด >>
——————–

การประชาสัมพันธ์

– ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
– ข่าวประชาสัมพันธ์
ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประกาศมหาวิทยาลัย
ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข่าวรอบรั้วเทาแสด
ดูรายละเอียด >>
——————–

  – QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

-ช่องทางการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบกับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทาง (Q&A)

– ช่องทางการสอบถามข้อมูลของมหาวิทยาลัยนเรศร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ช่องทางการสอบถามข้อมูลของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

แผนการดำเนินงานและงบประมาณ

– แผนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานที่มีระยะมากกว่า 1 ปี ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย​
(1) ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(2) เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(3) ตัวชี้วัดของเป้าหมายตาม (2)
( เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– แผนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2567 รายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลผลิตของแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละโครงการหรือกิจกรรม

– ผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียดความก้าวหน้า ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำปี ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุดการดำเนินการ)
(4) ปัญหา/อุปสรรค
(5) ข้อเสนอแนะ
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

การปฏิบัติงาน

– คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(3) ระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน
(4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

– คู่มือการบริการ งานบริการตรวจสอบวารสารเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ สำหรับเจ้าหน้าที่ (สำนักหอสมุด)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (กองการวิจัยและนวัตกรรม)
ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือการใช้งานระบบ LINE@GONU สำหรับเจ้าหน้าที่ (กองแผนงาน)
ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือการจัดทำคำสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร (กองกฎหมาย)

ดูรายละเอียด >>
——————–

การให้บริการและการติดต่อประสานงาน

– คู่มือการให้บริการหรือแนวทางการปฏิบัติที่ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับหน่วยงานใช้เป็นข้อมูลในการขอรับบริการหรือติดต่อกับหน่วยงาน มีรายละเอียดของแต่ละงาน ประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการให้บริการ
(3) ระยะเวลาแต่ละขั้นตอน
(4) ช่องทางให้บริการ เช่น สถานที่ ส่วนงานที่รับผิดชอบ E-service One Stop Service
(5) ค่าธรรมเนียม
(6) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

– คู่มือการลงทะเบียนผ่านระบบทะเบียนออนไลน์ (สำหรับนิสิต) กองบริการการศึกษา
ดูรายละเอียด >>
——————–

 

– คู่มือการบริการ การยืมต่อด้วยตนเอง ออนไลน์ Online Renewal (สำหรับผู้ใช้บริการ) สำนักหอสมุด
ดูรายละเอียด >>
——————–

 

– คู่มือการใช้งานระบบใบรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายออนไลน์ (สำหรับบริษัทหรือร้านค้า) กองคลัง

ดูรายละเอียด >>
——————–

ข้อมูลสถิติการให้บริการตามภารกิจของหน่วยงาน มีรายละเอียดของแต่ละงาน ประกอบด้วย
(1) จำนวนผู้รับบริการที่เข้ามารับบริการ ณ จุดให้บริการ (Walk-in)
(2) จำนวนผู้รับบริการผ่านช่องทาง E-Service
( เป็นข้อมูลสถิติของปี พศ.2566 )

– สถิติการให้บริการของสำนักหอสมุด (E-Service)
ดูรายละเอียด >>

——————–

– สถิติรายงานฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร (Walk -in)
ดูรายละเอียด >>

——————–

– สถิติการให้บริการนิสิตและประชาชนของกองคลัง (Walk-in และ E-Service)

ดูรายละเอียด >>

——————–

– ระบบการให้บริการ ผ่านช่องทางออนไลน์* ที่ผู้ขอรับบริการไม่ต้องเดินทางมายังจุดให้บริการ
( รายละเอียดวิธีการใช้งานระบบการให้บริการ )

– ระบบการให้บริการ ระบบทะเบียนออนไลน์ กองบริการการศึกษา

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ระบบบริการยืมต่อด้วยตนเอง ออนไลน์ Online Renewal (สำนักหอสมุด)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ระบบใบรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายออนไลน์สำหรับบริษัทหรือร้านค้า (กองคลัง)

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

การจัดซื้อจัดจ้าง

– รายการการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานในประเภทงบรายจ่ายหมวดงบลงทุนที่จะมีการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการ มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) วิธีการที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดำเนินการ

——————–

– แผนการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560*

ดูรายละเอียด >>

 

ตัวอย่างแผนการจัดซื้อจัดจ้าง

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประกาศการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 

ดูรายละเอียด >>


ตัวอย่างประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง

ดูรายละเอียด >>
——————–

( ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567 )

– ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
( เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) จำนวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(2) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ

– ผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ.2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละโครงการหรือกิจกรรม

( เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567 )

– แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลการดำเนินการของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินการ (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุดการดำเนินการ)
(5) ข้อมูลสถิติอัตรากำลัง จำแนกตามประเภทตำแหน่ง
(6) ข้อมูลสถิติจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(7) ปัญหา/อุปสรรค
(8) ข้อเสนอแนะ
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ*

ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา บุคลากรและผู้ปฏิบัติงานอื่นในสถาบันอุดมศึกษา

——————–

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย ประมวลจริยธรรมของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2565

——————–

– ผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) การจัดตั้งทีมให้คำปรึกษาตอบคำถามทางจริยธรรมหรือคณะทำงานขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม โดยให้แสดงเป็นคำสั่งแต่งตั้งที่เป็นทางการ

– คณะกรรมการธรรมาภิบาลและจริยธรรม

——————–

(2) แนวปฏิบัติ Dos & Don’ts เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทาและเป็นแนวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม ที่จัดทำขึ้นโดยหน่วยงาน

– แนวทางปฏิบัติตนทางจริยธรรมกับค่านิยมองค์กรของมหาวิทยาลัยนเรศวร (Do and Don’t)
ดูรายละเอียด >>
——————–

(3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐในหลักสูตร หรือ กิจกรรมเสริมสร้าง/ส่งเสริมจริยธรรมที่ดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567

– กิจกรรมเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

– คู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้เพื่อใช้ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของผู้ถูกร้อง ช่วงเวลาการกระทำความผิด พฤติการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบ
(2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(3) ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
(5) ระยะเวลาดำเนินการ

– คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรื่องร้องเรียนมหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ช่องทางออนไลน์ที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยกต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป

– เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส

– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียดประกอบด้วย
(1) จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
(2) จำนวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
(3) จำนวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
– เป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2566

ดูรายละเอียด >>
——————–

——————–

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

– ผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
(2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
(3) ผลจากการมีส่วนร่วม
(4) การนำผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงาน
 ( เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567 )

– ผู้นำนิสิตเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนานิสิตและมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2566

ดูรายละเอียด >>
——————–

– วุฒิสภาติดตามการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่ของ ม.นเรศวร และม.ราชภัฏพิบูลสงคราม เน้นการสร้างความยั่งยืนให้ชุมชนและสังคม

ดูรายละเอียด >>
——————–

นโยบาย No Gift Policy

– เป็นประกาศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ* อย่างเป็นทางการที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุด ที่ดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ. 2567

– มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงานจะไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในขณะ/ก่อน/หลังปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ

– เป็นการประกาศสำหรับปี พ.ศ. 2567
– ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง นโยบายไม่รับหรือให้ทรัพย์สิน ของขวัญ หรือประโยชน์อื่นใดจากการปฏิบัติหน้าที่ (No Gift Policy) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ประกาศฉบับภาษาไทย >>
——————–

ประกาศฉบับภาษาอังกฤษ >>
——————–

– แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลุกจิตสำนึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้เจ้าหน้าที่ในการปฏิเสธการรับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่

– เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุม การสัมมนา เพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบาย หรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ

(เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567)

– กิจกรรมเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานการรับของขวัญและของกำนัลตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ สำหรับหน่วยงาน

(เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาสำหรับหน่วยงาน ตามมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

(เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566)

ดูรายละเอียด >>
——————–

การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต

ผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วยงาน ประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
(1) การอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558*
(2) การใช้อำนาจตามกฎหมาย/การให้บริการตามภารกิจ
(3) การจัดซื้อจัดจ้าง
(4) การบริหารงานบุคคล

– ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริตแต่ละประเด็น มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง

 ( เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567 )

– คู่มือการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการประเมินความเสี่ยงและผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี พ.ศ. 2566 มีรายละเอียดประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง
(3) ผลการดำเนินการตามมาตรการหรือการดำเนินการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง

– การประเมินความเสี่ยงการทุจริต มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖

ดูรายละเอียด >>

——————–

แผนการป้องกันการทุจริต

– แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม หรือธรรมาภิบาลที่จัดทำโดยหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
     (1) โครงการ/กิจกรรม
     (2) งบประมาณแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
     (3) ระยะเวลาดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567)
– แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำมีงบประมาณ พ.ศ. 2567
——————–
 
 
– แสดงผลการดำเนินการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
     (1) ผลดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม 
     (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
     (3) ปัญหา/อุปสรรค
     (4) ข้อเสนอแนะ
     (เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566)
– รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มหาวิทยาลัยนเรศวร (1 ตุลาคม 65-30 กันยายน 2566)
——————–
 

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

– แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วยประเด็น ดังต่อไปนี้
(1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ
(2) การให้บริการและระบบ E-Service
(3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ
(4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สินของราชการ
(5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง
(6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล

(7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

– แสดงการกำหนดวิธีการนำผลการวิเคราะห์แต่ละประเด็นไปสู่การปฏิบัติ* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) วิธีการนำผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
(2) การกำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
(3) การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
(4) ระยะเวลา

– แสดงการวิเคราะห์ข้อจำกัดของหน่วยงานในการดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

– มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>

——————–

– แสดงผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน* มีรายละเอียดประกอบด้วย
     (1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
     (2) สรุปผลการดำเนินการตามมาตรการหรือกิจกรรม
     (3) ผลลัพธ์หรือความสำเร็จของการดำเนินการ
     (เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566)
– รายงานการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มหาวิทยาลัยนเรศวร (1 ตุลาคม 65-30 กันยายน 2566)
——————–

Loading

มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกาศเจตนารมณ์

“สุจริต โปร่งใส มหาวิทยาลัยนเรศวรใสสะอาด” นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)"

    เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์ที่เข้มแข็งในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นทุกรูปแบบ ขอเชิญชวนผู้บริหาร และบุคลากรทุกระดับ งดการรับและให้ของขวัญหรือผลประโยชน์อื่นใดในช่วงเทศกาลและในทุกโอกาส เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการดำเนินงาน ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลที่ดี

เจตนารมณ์นโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy)

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)

ข้อมูลพื้นฐาน

แผนผังโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

ตำแหน่งที่สำคัญและการแบ่งส่วนงานภายใน

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข้อมูลของผู้บริหารสูงสุด และผู้ดำรงตำแหน่งทางการบริหารของหน่วยงาน 
(1) ผู้บริหารสูงสุด
​(2) รองผู้บริหารสูงสุด​

– ข้อมูลของผู้บริหารแต่ละคน ประกอบด้วย​
(1) ชื่อ-นามสกุล
(2) ตำแหน่ง
(3) รูปถ่าย
(4) ช่องทางการติดต่อ​

ดูรายละเอียด >>
——————–
 

– อำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน 

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

ข้อมูลการติดต่อของหน่วยงาน ประกอบด้วย
(1) ที่อยู่หน่วยงาน
(2) หมายเลขโทรศัพท์
(3) E-mail ของหน่วยงาน
(4) แผนที่ตั้ง

ดูรายละเอียด >>
——————–

การประชาสัมพันธ์

– ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
– ข่าวประชาสัมพันธ์
ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประกาศมหาวิทยาลัย
ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข่าวรอบรั้วเทาแสด
ดูรายละเอียด >>
——————–

  – QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล

-ช่องทางการสอบถามข้อมูลต่าง ๆ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คำตอบกับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะเป็นการสื่อสารได้สองทาง (Q&A)

– ช่องทางการสอบถามข้อมูลของมหาวิทยาลัยนเรศร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ช่องทางการสอบถามข้อมูลของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

แผนการดำเนินงานและงบประมาณ

– แผนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงานที่มีระยะมากกว่า 1 ปี ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย​
(1) ยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(2) เป้าหมายของแต่ละยุทธศาสตร์หรือแนวทาง
(3) ตัวชี้วัดของเป้าหมายตาม (2)
( เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– แผนการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน ประจำปี พ.ศ. 2567 รายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลผลิตของแต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละโครงการหรือกิจกรรม

– ผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2567 ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีเนื้อหาหรือรายละเอียดความก้าวหน้า ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) ผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการดำเนินงานตามแผนดำเนินงานประจำปี ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ผลการดำเนินงานของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(2) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินงานแต่ละโครงการ/กิจกรรม (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุดการดำเนินการ)
(4) ปัญหา/อุปสรรค
(5) ข้อเสนอแนะ
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

การปฏิบัติงาน

– คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(3) ระยะเวลาการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอน
(4) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

– คู่มือการบริการ งานบริการตรวจสอบวารสารเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการ สำหรับเจ้าหน้าที่ (สำนักหอสมุด)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (กองการวิจัยและนวัตกรรม)
ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือการใช้งานระบบ LINE@GONU สำหรับเจ้าหน้าที่ (กองแผนงาน)
ดูรายละเอียด >>
——————–

– คู่มือการจัดทำคำสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร (กองกฎหมาย)

ดูรายละเอียด >>
——————–

การให้บริการและการติดต่อประสานงาน

– คู่มือการให้บริการหรือแนวทางการปฏิบัติที่ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับหน่วยงานใช้เป็นข้อมูลในการขอรับบริการหรือติดต่อกับหน่วยงาน มีรายละเอียดของแต่ละงาน ประกอบด้วย
(1) ชื่องาน
(2) วิธีการขั้นตอนการให้บริการ
(3) ระยะเวลาแต่ละขั้นตอน
(4) ช่องทางให้บริการ เช่น สถานที่ ส่วนงานที่รับผิดชอบ E-service One Stop Service
(5) ค่าธรรมเนียม
(6) กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

– คู่มือการลงทะเบียนผ่านระบบทะเบียนออนไลน์ (สำหรับนิสิต) กองบริการการศึกษา
ดูรายละเอียด >>
——————–

 

– คู่มือการบริการ การยืมต่อด้วยตนเอง ออนไลน์ Online Renewal (สำหรับผู้ใช้บริการ) สำนักหอสมุด
ดูรายละเอียด >>
——————–

 

– คู่มือการใช้งานระบบใบรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายออนไลน์ (สำหรับบริษัทหรือร้านค้า) กองคลัง

ดูรายละเอียด >>
——————–

ข้อมูลสถิติการให้บริการตามภารกิจของหน่วยงาน มีรายละเอียดของแต่ละงาน ประกอบด้วย
(1) จำนวนผู้รับบริการที่เข้ามารับบริการ ณ จุดให้บริการ (Walk-in)
(2) จำนวนผู้รับบริการผ่านช่องทาง E-Service
( เป็นข้อมูลสถิติของปี พศ.2566 )

– สถิติการให้บริการของสำนักหอสมุด (E-Service)
ดูรายละเอียด >>

——————–

– สถิติรายงานฐานข้อมูลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร (Walk -in)
ดูรายละเอียด >>

——————–

– สถิติการให้บริการนิสิตและประชาชนของกองคลัง (Walk-in และ E-Service)

ดูรายละเอียด >>

——————–

– ระบบการให้บริการ ผ่านช่องทางออนไลน์* ที่ผู้ขอรับบริการไม่ต้องเดินทางมายังจุดให้บริการ
( รายละเอียดวิธีการใช้งานระบบการให้บริการ )

– ระบบการให้บริการ ระบบทะเบียนออนไลน์ กองบริการการศึกษา

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ระบบบริการยืมต่อด้วยตนเอง ออนไลน์ Online Renewal (สำนักหอสมุด)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ระบบใบรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่ายออนไลน์สำหรับบริษัทหรือร้านค้า (กองคลัง)

ดูรายละเอียด >>
——————–

 

การจัดซื้อจัดจ้าง

– รายการการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานในประเภทงบรายจ่ายหมวดงบลงทุนที่จะมีการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567 ทุกรายการ มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) วิธีการที่จะดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) ช่วงเวลาที่คาดว่าจะเริ่มดำเนินการ

——————–

– แผนการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560*

ดูรายละเอียด >>

 

ตัวอย่างแผนการจัดซื้อจัดจ้าง

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประกาศการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 

ดูรายละเอียด >>


ตัวอย่างประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง

ดูรายละเอียด >>
——————–

( ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567 )

– ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงานที่มีการลงนามในสัญญาแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2567 ที่มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
( เป็นข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ในปี พ.ศ. 2567 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) จำนวนรายการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(2) งบประมาณที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างฯ จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ (บาท)
(3) ปัญหา/อุปสรรค
(4) ข้อเสนอแนะ

– ผลการจัดซื้อจัดจ้างฯ ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) งานที่ซื้อหรือจ้าง
(2) วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท)
(3) แหล่งที่มาของงบประมาณ
(4) สถานะการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(5) วิธีการจัดซื้อจัดจ้างฯ
(6) ราคากลาง (บาท)
(7) ราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (บาท)
(8) เลขประจำตัวผู้เสียภาษี/เลขประจำตัวประชาชนของผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(9) รายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการคัดเลือก
(10) เลขที่โครงการ
(11) วันที่ลงนามในสัญญา
(12) วันสิ้นสุดสัญญา
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ.2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) งบประมาณที่ใช้แต่ละโครงการหรือกิจกรรม
(3) ระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละโครงการหรือกิจกรรม

( เป็นแผนฯ ที่มีความครอบคลุมทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2567 )

– แผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปีงบประมาณ 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) โครงการหรือกิจกรรม
(2) ผลการดำเนินการของแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(3) งบประมาณที่ได้รับจัดสรรและผลการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(4) ระยะเวลาในการดำเนินการ (ระบุเป็น วัน เดือน ปีที่เริ่มและสิ้นสุดการดำเนินการ)
(5) ข้อมูลสถิติอัตรากำลัง จำแนกตามประเภทตำแหน่ง
(6) ข้อมูลสถิติจำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมหรือพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(7) ปัญหา/อุปสรรค
(8) ข้อเสนอแนะ
( เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566 )

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ*

ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา บุคลากรและผู้ปฏิบัติงานอื่นในสถาบันอุดมศึกษา

——————–

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ว่าด้วย ประมวลจริยธรรมของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2565

——————–

– ผลการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมให้แก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) การจัดตั้งทีมให้คำปรึกษาตอบคำถามทางจริยธรรมหรือคณะทำงานขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม โดยให้แสดงเป็นคำสั่งแต่งตั้งที่เป็นทางการ

– คณะกรรมการธรรมาภิบาลและจริยธรรม

——————–

(2) แนวปฏิบัติ Dos & Don’ts เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทาและเป็นแนวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม ที่จัดทำขึ้นโดยหน่วยงาน

– แนวทางปฏิบัติตนทางจริยธรรมกับค่านิยมองค์กรของมหาวิทยาลัยนเรศวร (Do and Don’t)
ดูรายละเอียด >>
——————–

(3) การฝึกอบรมที่มีการสอดแทรกสาระด้านจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐในหลักสูตร หรือ กิจกรรมเสริมสร้าง/ส่งเสริมจริยธรรมที่ดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567

– กิจกรรมเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ

– คู่มือหรือแนวทางการดำเนินการต่อเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) รายละเอียดของข้อมูลที่ผู้ร้องควรรู้เพื่อใช้ในการร้องเรียน เช่น ชื่อ-สกุลของผู้ถูกร้อง ช่วงเวลาการกระทำความผิด พฤติการณ์การทุจริตและประพฤติมิชอบ
(2) ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(3) ขั้นตอนหรือวิธีการในการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
(4) ส่วนงานที่รับผิดชอบ
(5) ระยะเวลาดำเนินการ

– คู่มือการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรื่องร้องเรียนมหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ช่องทางออนไลน์ที่บุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน โดยต้องแยกต่างหากจากช่องทางการร้องเรียนทั่วไป

– เป็นช่องทางที่มีการคุ้มครองข้อมูลของผู้แจ้งเบาะแส

– สามารถเข้าถึงหรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน มีรายละเอียดประกอบด้วย
(1) จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมด
(2) จำนวนเรื่องที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
(3) จำนวนเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
– เป็นข้อมูลของปี พ.ศ. 2566

ดูรายละเอียด >>
——————–

——————–

การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

– ผลการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) ประเด็นหรือเรื่องในการมีส่วนร่วม
(2) สรุปข้อมูลของผู้มีส่วนร่วม
(3) ผลจากการมีส่วนร่วม
(4) การนำผลจากการมีส่วนร่วมไปปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงาน
 ( เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567 )

– ผู้นำนิสิตเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนานิสิตและมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2566

ดูรายละเอียด >>
——————–

– วุฒิสภาติดตามการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่ของ ม.นเรศวร และม.ราชภัฏพิบูลสงคราม เน้นการสร้างความยั่งยืนให้ชุมชนและสังคม

ดูรายละเอียด >>
——————–

นโยบาย No Gift Policy

– เป็นประกาศฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ* อย่างเป็นทางการที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุด ที่ดำรงตำแหน่งในปี พ.ศ. 2567

– มีวัตถุประสงค์เพื่อประกาศว่าผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของรัฐทุกคนในหน่วยงานจะไม่รับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดในขณะ/ก่อน/หลังปฏิบัติหน้าที่ ที่จะส่งผลให้เกิดการทุจริตและประพฤติมิชอบ

– เป็นการประกาศสำหรับปี พ.ศ. 2567
– ประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง นโยบายไม่รับหรือให้ทรัพย์สิน ของขวัญ หรือประโยชน์อื่นใดจากการปฏิบัติหน้าที่ (No Gift Policy) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ประกาศฉบับภาษาไทย >>
——————–

ประกาศฉบับภาษาอังกฤษ >>
——————–

– แสดงการดำเนินกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อปลุกจิตสำนึกหรือสร้างวัฒนธรรมให้เจ้าหน้าที่ในการปฏิเสธการรับของขวัญและของกำนัลทุกชนิดจากการปฏิบัติหน้าที่

– เป็นการดำเนินกิจกรรมในลักษณะการประชุม การสัมมนา เพื่อถ่ายทอดหรือมอบนโยบาย หรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ

(เป็นการดำเนินการโดยหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2567)

– กิจกรรมเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานการรับของขวัญและของกำนัลตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ สำหรับหน่วยงาน

(เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566)

ดูรายละเอียด >>
——————–

– รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาสำหรับหน่วยงาน ตามมาตรา 128 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

(เป็นรายงานผลในภาพรวมของหน่วยงาน ในปี พ.ศ. 2566)

ดูรายละเอียด >>
——————–

การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต

ผลการประเมินความเสี่ยงการทุจริต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบนของการดำเนินงานหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามภารกิจของหน่วยงาน ประกอบด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
(1) การอนุมัติ อนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558*
(2) การใช้อำนาจตามกฎหมาย/การให้บริการตามภารกิจ
(3) การจัดซื้อจัดจ้าง
(4) การบริหารงานบุคคล

– ในการประเมินความเสี่ยงการทุจริตแต่ละประเด็น มีรายละเอียด ประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง

 ( เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2567 )

– คู่มือการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดูรายละเอียด >>
——————–

– ผลการประเมินความเสี่ยงและผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี พ.ศ. 2566 มีรายละเอียดประกอบด้วย
(1) เหตุการณ์ความเสี่ยงและระดับของความเสี่ยง
(2) มาตรการในการบริหารจัดการความเสี่ยง
(3) ผลการดำเนินการตามมาตรการหรือการดำเนินการเพื่อบริหารจัดการความเสี่ยง

– การประเมินความเสี่ยงการทุจริต มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖

ดูรายละเอียด >>

——————–

แผนการป้องกันการทุจริต

– แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม หรือธรรมาภิบาลที่จัดทำโดยหน่วยงาน ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
     (1) โครงการ/กิจกรรม
     (2) งบประมาณแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
     (3) ระยะเวลาดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม
(เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2567)
– แผนปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำมีงบประมาณ พ.ศ. 2567
——————–
 
 
– แสดงผลการดำเนินการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันการทุจริตหรือส่งเสริมมาตรฐานจริยธรรม หรือธรรมาภิบาล ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
     (1) ผลดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม 
     (2) รายละเอียดงบประมาณที่ใช้ดำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม*
     (3) ปัญหา/อุปสรรค
     (4) ข้อเสนอแนะ
     (เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2566)
– รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มหาวิทยาลัยนเรศวร (1 ตุลาคม 65-30 กันยายน 2566)
——————–
 

มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

– แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วยประเด็น ดังต่อไปนี้
(1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ
(2) การให้บริการและระบบ E-Service
(3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ
(4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สินของราชการ
(5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง
(6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล

(7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

– แสดงการกำหนดวิธีการนำผลการวิเคราะห์แต่ละประเด็นไปสู่การปฏิบัติ* ที่มีรายละเอียดอย่างน้อยประกอบด้วย
(1) วิธีการนำผลการวิเคราะห์ไปสู่การปฏิบัติ
(2) การกำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
(3) การกำหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
(4) ระยะเวลา

– แสดงการวิเคราะห์ข้อจำกัดของหน่วยงานในการดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ

– มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ดูรายละเอียด >>

——————–

– แสดงผลการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงานตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน* มีรายละเอียดประกอบด้วย
     (1) มาตรการหรือกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
     (2) สรุปผลการดำเนินการตามมาตรการหรือกิจกรรม
     (3) ผลลัพธ์หรือความสำเร็จของการดำเนินการ
     (เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2566)
– รายงานการดำเนินการเพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 มหาวิทยาลัยนเรศวร (1 ตุลาคม 65-30 กันยายน 2566)
——————–

Loading

Translate »
Secured By miniOrange